5. วิธีการทํางานของจิ๊ก
เมื่อมอเตอร์หมุนแกนลูกเบี้ยว ตัวลูกเบี้ยวจะเปลี่ยนทิศทางการหมุนเป็นการเคลื้อนที่ไปมาในแนวเส้นตรง ทําให้ก้านลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นลง ทําให้ไดอะแฟรมหรือลูกสูบเคลื้อนที่ขึ้นลงด้วย
เนื่องจากห้องรับแร่ของจิ๊ก (Hutch) ติดต่อเป็นห้องเดียวกันระหว่างห้องแยกแร่และห้องไดอะแฟรม ดังนั้น เมื่อ
ไดอะแฟรมหรือลูกสูบกดลง จะทําให้ระดับนํ้าในห้องแยกแร่ขึ้นสูงดันให้แร่ทราย และเม็ดลูกจิ๊ก ลอยตัวขึ้นทั้งหมด
แต่ก่อนจังหวะยกขึ้นของไดอะแฟรม การอัดตัวของนํ้าสิ้นสุดลงนํ้าเริ่มไหลกลับ ส่วนล่างของชั้นจิ๊กเริ่มขยายตัว
(Dilate) เกิดแนวการขยายตัวในชั้นจิีก (Dilation Zone) จังหวะนี็เรียกวา Pulsion เมื่อไดอะแฟรมหรือลูกสูบยกตัวขึ้น
จะทําให้ระดับนํ้าในห้องแยกแร่ตํ่าลง จะดูดให้แร่ทรายและเม็ดลูกจิ๊กตกลงมา จังหวะนี้เรียกวา Suction เนื้องจากแร่มี
ถ.พ. มากกว่าทราย หรือเม็ดลูกจิ๊ก ดังนั้น แร่จะแทรกตัวผานชั้ นเม็ดลูกจิ๊ก ตกผ่านตะแกรงลงมาก่อนสู่ห้องรับมากกว่าทราย หรือเม็ดลูกจิ๊ก ดังนั้น แร่จะแทรกตัวผานชั้นเม็ดลูกจิ๊ก ตกผานตะแกรงลงมาก่อนสู่ห้องรับแร่ (Hutch)
กรณีที่แร่
ลอดผานตะแกรงลงมา เรียกว่าการแยกแร่ด้วยจิ๊กผานรูตะแกรง (Jigging through the Sieve) ส่วนในกรณีที่แร่ทรายและเม็ดลูกจิ๊กค้างอยูบนตะแกรงหมด เรียกว่า วิธีการแยกแร่ด้วยจิ๊กบนตะแกรง (Jigging on the Sieve) วิธีนี้แร่จะแยกตัวออกอยูชั้นล่างสุด ชั้นกลางเป็นชั้นเม็ดลูกจิ๊ก (Ragging or Bedding) และชั้นบนสุดเป็นพวกทรายหรือมลทิน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น